POCSAG DAPNET Pager via MMDVM PI-STAR

Register DAPNET account. https://hampager.de/ Click Ticket Open a new Ticket กรอกข้อมูลส่วนตัวพร้อมรายละเอียดเบื้องต้น จะมี Email อัตโนมัติเข้ามายืนยันว่าเราได้ส่ง Request ไป รอ Email ตอบกลับจากทีม Support จะสอบถามรายละเอียดต่างๆของเรา ผมก็ตอบรายละเอียดของผมไป หลังจากนี้จะมีอีเมล์ตอบกลับมาสองฉบับ ฉบับแรกเป็น Account บนเว็บไซด์ https://hampager.de ฉบับที่สองเป็น Authen Key ที่จะนำไปกรอกใน MMDVM(PI-STAR) ของเรา การตั้งค่าใน PI-STAR 1. เปิดโหมด  POCSAG 2. ตั้งค่าความถี่ และ AuthKey 3. เข้า Expert Mode และ DAPNET API กรอก Username และ Password ที่ได้มาจาก Email … Continue reading “POCSAG DAPNET Pager via MMDVM PI-STAR”

Register DAPNET account.
https://hampager.de/
Click Ticket

Open a new Ticket

กรอกข้อมูลส่วนตัวพร้อมรายละเอียดเบื้องต้น

จะมี Email อัตโนมัติเข้ามายืนยันว่าเราได้ส่ง Request ไป

รอ Email ตอบกลับจากทีม Support
จะสอบถามรายละเอียดต่างๆของเรา

ผมก็ตอบรายละเอียดของผมไป

หลังจากนี้จะมีอีเมล์ตอบกลับมาสองฉบับ
ฉบับแรกเป็น Account บนเว็บไซด์ https://hampager.de
ฉบับที่สองเป็น Authen Key ที่จะนำไปกรอกใน MMDVM(PI-STAR) ของเรา

การตั้งค่าใน PI-STAR
1. เปิดโหมด  POCSAG

2. ตั้งค่าความถี่ และ AuthKey

3. เข้า Expert Mode และ DAPNET API
กรอก Username และ Password ที่ได้มาจาก Email

เสร็จสิ้นการตั้งค่าของ PI-STAR

การตั้งค่า RIC บนเว็บ hampager.de
Login แล้วเข้าเมนู Subscriber แล้วค้นหา Callsign เรา จะเห็นปุ่มทางขวาให้กดเข้าไปแก้ไข
อย่างของผม ผมใช้ DMR ID ดังในรูป
หมายเลขนี้จะต้องนำไปโปรแกรมใน Pager ให้ตรงกันด้วย
จะกล่าวต่อไปหลังจากนี้ครับ

การโปรแกรม Pager 
แต่ละรุ่นจะไม่เหมือนกันครับ อย่างของผมของจีน โปรแกรมแค่ความถี่และ RIC

ถึงตรงนี้จะเสร็จในส่วนของ Pager

ทดลองส่ง
ส่งได้หลายทาง
ส่งจาก Pi-STAR เราเอง
sudo pistar-dapnetapi HS8JCV “Test Pager from PI-STAR”

ส่งจาก hampager.de
Login เลือก Call เลือก New Call ในส่วนของ Action.

หลังจากนี้ Hotspot เราจะส่ง Signal ไปยัง Pager

[embedyt] https://www.youtube.com/watch?v=rkEtshEJMxU[/embedyt]

D-STAR Repeater and ircDDB Gateway

D-STAR Repeater  This is the D-Star Repeater which controls homebrew repeater hardware and links into the ircDDB Gateway to allow for access to extra non-RF facilities, The hardware supported include: DVAP DV-Mega (D-Star only) GMSK Modems Soundcard repeaters (including UDRC) MMDVM (D-Star only) DV-RPTR V1, V2, and V3 Icom Terminal and Access Point modes They … Continue reading “D-STAR Repeater and ircDDB Gateway”

D-STAR Repeater 

This is the D-Star Repeater which controls homebrew repeater hardware and links into the ircDDB Gateway to allow for access to extra non-RF facilities,

The hardware supported include:

  • DVAP
  • DV-Mega (D-Star only)
  • GMSK Modems
  • Soundcard repeaters (including UDRC)
  • MMDVM (D-Star only)
  • DV-RPTR V1, V2, and V3
  • Icom Terminal and Access Point modes

They all build on 32-bit and 64-bit Linux as well as on Windows using Visual Studio 2017 on x86 and x64.

This software is licenced under the GPL v2.
Credit : https://github.com/g4klx/DStarRepeater

ircDDB Gateway

This is the ircDDB Gateway. It allows a D-Star Repeater to interface into callsign routing via ircDDB and all of the different reflector types. It includes many facilities, including:

  • Supports Icom stacks.
  • Supports homebrew repeaters.
  • Icom DD mode under Linux with Internet access.
  • Callsign routing via ircDDB.
  • D-Plus REF reflectors.
  • DExtra XRF reflectors.
  • DCS reflectors.
  • XLX reflectors.
  • CCS7 routing.
  • D-RATS data transfers.
  • Gateway DPRS data to aprs.fi.
  • Full multi lingual text and voice announcements.
  • DTMF or UR call control.
  • Remote control interface.
  • StarNet server.
  • Ability to set policies for reflector usage.

There are many external programs that allow for inserting voice or text messages, as well as remote control operation.

They all build on 32-bit and 64-bit Linux as well as on Windows using Visual Studio 2017 on x86 and x64.

This software is licenced under the GPL v2.
Credit : https://github.com/g4klx/ircDDBGateway

Downloads
For windows
D-STAR Repeater 32 bit
D-STAR Repeater 64 bit
ircDDB Gateway 32 bit
ircDDB Gateway 64 bit
All package for Yahoo Group

For Raspberry Pi 3
DTDXA build is based on raspbian – stretch  2018-06-27
dtdxa.img.zip
User : pi
Password : dtdxa

DTDXA_menu.img.zip

Special Thanks
G4KLX

การตั้งการค่าใช้งาน software RS-MS3W สำหรับ Access Point Mode และ Terminal Mode ของ ID-51E-T

ต่อเนื่องจากการลงทะเบียน G3 Gateway การตั้งค่าการใช้งาน software สำหรับ Access Point Mode และ Terminal Mode *ฟังก์ชั่นนี้ระบบอินเตอร์เน็ตจะต้องเป็น Public IP เท่านั้น และต้องทำการ Forward port หมายเลข 40,000 มายัง Computer ที่เราใช้รันโปรแกรม RS-MS3W  สามารถดาวโหลดไดรเวอร์สำหรับสาย Data Link เทียบเท่า ได้ตามลิ้งค์นี้ http://www.ftdichip.com/Drivers/VCP.htm สามารถดาวโหลด Software RS-MS3W จากเว็บ ICOM Japan โดยตรงได้ตามลิ้งค์นี้ http://www.icom.co.jp/world/support/download/firm/RS-MS3W/1_14/RS-MS3W_1.14.zip เมื่อเปิดโปรแกรมขึ้นมา ให้เลือก Setting แล้วเลือก Com Port ของสาย Data Link   ถ้าไม่แน่ใจสามารถเช็คค่า Com Port ได้จาก Device Manager Gateway … Continue reading “การตั้งการค่าใช้งาน software RS-MS3W สำหรับ Access Point Mode และ Terminal Mode ของ ID-51E-T”

ต่อเนื่องจากการลงทะเบียน G3 Gateway

การตั้งค่าการใช้งาน software สำหรับ Access Point Mode และ Terminal Mode

*ฟังก์ชั่นนี้ระบบอินเตอร์เน็ตจะต้องเป็น Public IP เท่านั้น และต้องทำการ Forward port หมายเลข 40,000 มายัง Computer ที่เราใช้รันโปรแกรม RS-MS3W 

สามารถดาวโหลดไดรเวอร์สำหรับสาย Data Link เทียบเท่า ได้ตามลิ้งค์นี้
http://www.ftdichip.com/Drivers/VCP.htm

สามารถดาวโหลด Software RS-MS3W จากเว็บ ICOM Japan โดยตรงได้ตามลิ้งค์นี้
http://www.icom.co.jp/world/support/download/firm/RS-MS3W/1_14/RS-MS3W_1.14.zip

เมื่อเปิดโปรแกรมขึ้นมา ให้เลือก Setting แล้วเลือก Com Port ของสาย Data Link   ถ้าไม่แน่ใจสามารถเช็คค่า Com Port ได้จาก Device Manager

Gateway Repeater : ให้กรอกชื่อโดเมนหรือหมายเลข IP ของ gateway ที่เราได้ไปลงทะเบียนเอาไว้แล้ว
Terminal/AP Call Sign : ใส่ค่าให้สอดคล้องกับตอนที่เราลงทะเบียนใว้ในส่วนของ Access Point
Gateway Type : เลือก Global
Allowed Call sign : ให้เลือก Disable   ถ้าต้องการเลือก Enable จะต้องเพิ่ม Callsigns ที่อนุญาตให้ใช้ผ่านเกตเวย์นี้ได้ใน List ด้านล่าง

หลังจากนั้นให้กดปุ่ม Start
หลังจากนี้ให้ตั้งความถี่ที่จะใช้งานที่เครื่องวิทยุ แล้วจึงเข้าไปตั้งให้เป็นโหมด DV Gateway

กดปุ่มเมนู และเลือก DV Gateway
เลือก Access Point Mode หรือ Terminal Mode

ทดสอบกดคีย์จากเครื่องวิทยุดีสตาร์อีกเครื่อง หากทุกอย่างถูกต้องจะต้องมีสถานะแสดงให้เห็นทางด้านซ้ายมือด้านล่างของโปรแกรม

ในกรณีที่เลือกเป็น Terminal Mode สามารถใช้เครื่อง ID-51E-T ดังกล่าวคุยผ่านสายโปรแกรมได้เลย โดยต้องตั้งค่า Call Sign ปลายทาง(To)ให้ถูกต้อง

อย่างกรณีในรูปหมายถึง ปลายทาง(To)ที่เราต้องการให้เสียงของเราไปออกอากาศคือ Repeater E24DA C   หากทุกอย่างถูกต้องเมื่อเรากดคีย์และพูด เสียงของเราจะไปออกอากาศที่ Repeater E24DA module C (VHF)

ในทำนองเดียวกันถ้าสถานีที่ได้ยินเสียงเราต้องการสนทนากลับมาหาเรา จะต้องตั้งค่าปลายทาง(To)เป็นนามเรียกขานของเรา ถึงจะสามารถส่งเสียงกลับมาถึงวิทยุเราได้

MMDVM Jambo Spot (Chinese Version) vs MMDVM Hat (VHF Customized)

MMDVM Jambo Spot (Chinese Version) จากการทดสอบโดยตั้งค่าความถี่ที่ 145.550 MHz ผลลัพธ์ตามรูปด้านบน ปรากฏว่ามีความถี่แปลกปลอมเกิดขึ้นเยอะมาก และสัญญาณหลักมีความแรงต่ำกว่าความถี่แปลกปลอมด้วยซ้ำ เพราะตัวบอร์ดออกแบบมาให้ใช้ในช่วงความถี่ UHF เป็นหลัก MMDVM Hat (VHF Customized) จากรูปด้านบนคือผลลัพธ์ของ MMDVM Hat ที่ออกแบบวงจรใหม่ให้ทำงานเหมาะสมในย่าน VHF

MMDVM Jambo Spot (Chinese Version)

จากการทดสอบโดยตั้งค่าความถี่ที่ 145.550 MHz ผลลัพธ์ตามรูปด้านบน ปรากฏว่ามีความถี่แปลกปลอมเกิดขึ้นเยอะมาก และสัญญาณหลักมีความแรงต่ำกว่าความถี่แปลกปลอมด้วยซ้ำ เพราะตัวบอร์ดออกแบบมาให้ใช้ในช่วงความถี่ UHF เป็นหลัก

MMDVM Hat (VHF Customized)

จากรูปด้านบนคือผลลัพธ์ของ MMDVM Hat ที่ออกแบบวงจรใหม่ให้ทำงานเหมาะสมในย่าน VHF

การลงทะเบียนใช้งานระบบ D-STAR

การลงทะเบียนใช้งานในระบบ US-Trust ในระบบ D-STAR ให้เลือกลงผ่านเกตเวย์ใดเกตเวย์หนึ่งเท่านั้น ในไทยเราแนะนำให้ลงผ่านเกตเวย์ที่ตั้งอยู่ที่ กสทช. http://e24da.dstargateway.org/Dstar.do 1. หลังจากนี้จะเข้าสู่หน้า Login ให้กด Register 2. กรอกข้อมูลในแบบฟอร์มให้ครบ 3. รอไม่เกิน 24 ชั่วโมง Admin จะทำการตรวจสอบ และ Active user ให้ หลังจากนั้นให้กลับมา Login อีกครั้ง ตามข้อมูลที่เรากรอกไว้ เมื่อ Login เข้าไปแล้วให้กดในหัวข้อ Personal Information จะแสดงดังรูป หัวข้อที่ 1 กรอบสีเขียว ให้เคาะ spacebar หนึ่งครั้ง หัวข้อที่ 2 กรอบสีแดง กรอกอักษร A-Z อะไรก็ได้ แต่ห้ามใช้ G และ S ข้อมูลในหัวข้อนี้จะนำไปให้ในการตั้งค่าใช้งานฟังก์ชั่น Access Point Mode … Continue reading “การลงทะเบียนใช้งานระบบ D-STAR”

การลงทะเบียนใช้งานในระบบ US-Trust ในระบบ D-STAR ให้เลือกลงผ่านเกตเวย์ใดเกตเวย์หนึ่งเท่านั้น ในไทยเราแนะนำให้ลงผ่านเกตเวย์ที่ตั้งอยู่ที่ กสทช.

http://e24da.dstargateway.org/Dstar.do

1. หลังจากนี้จะเข้าสู่หน้า Login ให้กด Register

2. กรอกข้อมูลในแบบฟอร์มให้ครบ

3. รอไม่เกิน 24 ชั่วโมง Admin จะทำการตรวจสอบ และ Active user ให้ หลังจากนั้นให้กลับมา Login อีกครั้ง ตามข้อมูลที่เรากรอกไว้ เมื่อ Login เข้าไปแล้วให้กดในหัวข้อ Personal Information จะแสดงดังรูป

หัวข้อที่ 1 กรอบสีเขียว ให้เคาะ spacebar หนึ่งครั้ง
หัวข้อที่ 2 กรอบสีแดง กรอกอักษร A-Z อะไรก็ได้ แต่ห้ามใช้ G และ S
ข้อมูลในหัวข้อนี้จะนำไปให้ในการตั้งค่าใช้งานฟังก์ชั่น Access Point Mode หรือ Terminal Mode
จากนั้นกด Update

เสร็จสิ้น

YSF2DMR Installation on PI-STAR

  Disk Expand เป็นการขยายพื้นบนการ์ดให้ได้ตามขนาดที่แท้จริงของการ์ด เพราะหลังจากที่เขียนอิมเมจลงไป ระบบปฏิบัติการจะมองการ์ดเท่ากับขนาดจากอิมเมจต้นฉบับ เข้าใข้ SSH Access ตามบทความก่อนหน้านี้  Click Here หลังจากที่ Login เข้า SSH เรียบร้อยแล้ว rpi-rw #สั่ง enable ให้เขียน drive ได้ sudo pistar-expand #สั่งขยายให้ระบบมองเห็นการ์ดทั้งใบ เพราะก่อนหน้านี้มองเห็นตามขนาดของอิมเมจที่ใช้ sudo reboot #สั่งรีบูตบอร์ด

 

  1. Disk Expand
    เป็นการขยายพื้นบนการ์ดให้ได้ตามขนาดที่แท้จริงของการ์ด เพราะหลังจากที่เขียนอิมเมจลงไป ระบบปฏิบัติการจะมองการ์ดเท่ากับขนาดจากอิมเมจต้นฉบับ

    1. เข้าใข้ SSH Access ตามบทความก่อนหน้านี้  Click Here
      หลังจากที่ Login เข้า SSH เรียบร้อยแล้ว
    2. rpi-rw #สั่ง enable ให้เขียน drive ได้
    3. sudo pistar-expand #สั่งขยายให้ระบบมองเห็นการ์ดทั้งใบ เพราะก่อนหน้านี้มองเห็นตามขนาดของอิมเมจที่ใช้
    4. sudo reboot #สั่งรีบูตบอร์ด

Continue reading “YSF2DMR Installation on PI-STAR”

Howto update Thailand Host files on PI-STAR

เข้าใข้ SSH Access ตามบทความก่อนหน้านี้  Click Here หลังจากที่ Login เข้า SSH เรียบร้อยแล้ว ใช้คำสั่งดังต่อไปนี้ rpi-rw sudo su – wget http://www.dtdxa.com/downloads/uphost.sh chmod +x uphost.sh ./uphost.sh เสร็จสิ้นการ update host files. กลับไปหน้า configuration ข้อมูล Host files ที่ update แล้วจะอยู่ด้านล่างของ  List box.

  1. เข้าใข้ SSH Access ตามบทความก่อนหน้านี้  Click Here
    หลังจากที่ Login เข้า SSH เรียบร้อยแล้ว
  2. ใช้คำสั่งดังต่อไปนี้
    • rpi-rw
    • sudo su –
    • wget http://www.dtdxa.com/downloads/uphost.sh
    • chmod +x uphost.sh
    • ./uphost.sh
  3. เสร็จสิ้นการ update host files.
  4. กลับไปหน้า configuration ข้อมูล Host files ที่ update แล้วจะอยู่ด้านล่างของ  List box.

MMDVM HAT firmware update by PI-STAR

เข้าไปยังหน้า Configuration ของบอร์ด เช่น http://192.168.1.99/admin/configure.php ให้เลือกปิดโหมดทั้งหมด แล้วกดปุ่ม apply ดังแสดงในรูป

  1. เข้าไปยังหน้า Configuration ของบอร์ด เช่น http://192.168.1.99/admin/configure.php ให้เลือกปิดโหมดทั้งหมด แล้วกดปุ่ม apply ดังแสดงในรูป

Continue reading “MMDVM HAT firmware update by PI-STAR”

DVMEGA firmware update by PI-STAR Image

เข้าไปยังหน้า Configuration ของบอร์ด เช่น http://192.168.1.99/admin/configure.php เลือกปิดโหมดทั้งหมด และกดปุ่ม apply ดังแสดงในรูป

  1. เข้าไปยังหน้า Configuration ของบอร์ด เช่น http://192.168.1.99/admin/configure.php เลือกปิดโหมดทั้งหมด และกดปุ่ม apply ดังแสดงในรูป

Continue reading “DVMEGA firmware update by PI-STAR Image”